ผู้มีปัญหาปวดประจำเดือนรุุนแรง ไมเกรน ปวดหัวข้างเดียว (รายการสุขและสวย โดยbim100)
|
หมายเหตุ "ผลลัพธ์อาจแตกต่างไปแล้วแต่บุคคล"
|
ผู้มีปัญหาปวดประจำเดือน และไมเกรน 30 ปี กับการปวดประจำเดือน วันแรก ๆ จะรู้สึกปวดมากต้องนอนพัก ใช้กระเป๋าน้ำร้อนและรับประทานยาแก้ปวด บรรเทาอาการถึงจะทำงานต่อได้ ครั้งหนึงปวดมากจนต้องเข้า รพ.และปวดไมเกรนเกือบ 10 ปี ถ้าเครียดทำงานหนักพักผ่อนน้อย นอนดึกบ่อย ๆ อยู่ในที่เย็นจัดสลับกับร้อนจัด เิริ่มปวดท้ายทอยข้างซ้าย แล้วขึ้นมาปวดที่ศรีษะข้างซ้าย ทรมานมาก เริ่มเป็นไมเกรนใหม่ แค่นอนพักสักนิดหน่อยก็รู้สึกดีขึ้น แต่ระยะหลังนอนพักนานขึ้นและปวดมากขึ้น หากไม่ได้พัก ปวดจนอาเจียนและท้องเสีย รู้จัก BIM(บิม)ทางอินเตอร์เนต 2 ปีก่อน หลังจากทีี BIM(บิม) อาการปวดประจำเดือนก็หายไป อาการของไมเกรน ไม่กำเริบ ทุุกวันนี้นอนดึกบ่อย ๆ ก็ไมีรู้สึกเพลีย ไมเกรนจะกำเริมก็ต่อเมื่อนอนดึกติดต่อกัน 2 สับดาห์ (สีเขียว เช้า 2 แคปซูล และก่อนนอน 2 แคปซูล)
|
ผู้หญิงกับการปวดท้องประจำเดือน(ปวดท้องเมนท์) เป็นเรื่องทรมาณสำหรับผู้หญิง
|
การมีประจำเดือนว่าเกิดจากฮอร์โมนเพศที่เปลี่ยนแปลงในร่างกายของผู้หญิงทุกๆ รอบเดือนโดยเริ่มจากต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมนมากระตุ้นรังไข่ให้เจริญมากขึ้น จนกระทั่งมีการตกไข่ในช่วงกลางๆ ของรอบประจำเดือน ถ้าไข่ที่ตกไม่ได้รับการผสมก็จะฝ่อไป แล้วอิทธิพลของฮอร์โมนเพศจากรังไข่ก็จะกระตุ้นให้เยื่อบุโพรงมดลูกลอกตัวกลายเป็นประจำเดือน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศนี่เองที่ทำให้ผู้หญิงเกิดอาการที่เรียกว่า “ปวดประจำเดือน” ซึ่งมักมีอาการปวดท้องน้อยอย่างรุนแรงในช่วงวันแรกๆ ของการมีประจำเดือน
อาการก่อนมีประจำเดือนที่ผู้หญิงส่วนใหญ่จะมีอาการ
มีอาการทางกาย พฤติกรรม และอารมณ์ ช่วงก่อนมีประจำเดือน อาการคัดตึงเต้านม ปวดหรือเวียนศีรษะ ปวดท้องน้อย ตัวบวม น้ำหนักเพิ่ม ท้องอืด แน่นท้อง รู้สึกอยากรับประทานมากขึ้น ร้อนตามตัว นอนไม่หลับ ไวต่อเสียงและกลิ่น รู้สึกอ่อนเพลีย สมาธิสั้น กระวนกระวาย หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล ซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน ฯลฯ โดยอาการดังกล่าวอาจจะอยู่ในระดับไม่รุนแรงถึงรุนแรงปานกลาง แต่จะดีขึ้นและหมดไปภายหลังจากที่ประจำเดือนมา ส่วนสาเหตุนั้นเชื่อว่ามาจากการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนเพศหญิงในกระแสเลือด
ร้อยละ 3-8 ของผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ จะมีอาการก่อนมีประจำเดือนชนิดรุนแรง จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต การงาน สังคม จิตใจ และความสัมพันธ์ต่อคนรอบข้างมาก โดยมักจะเริ่มมีอาการตอนอายุ 20 ปี แต่มักจะรักษาตอนอายุ 30 ปีขึ้นไป ผลการศึกษาทางการแพทย์พบว่า กลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือนชนิดรุนแรงมักจะมีอาการรุนแรงขึ้น และมากขึ้นตามวัย โดยอาจมีอาการไปจนถึงวัยหมดประจำเดือน แต่อาการจะดีขึ้นได้หากมีการตั้งครรภ์
|
ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนของกลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือนชนิดรุนแรง แต่เชื่อว่าอาจเกิดจากปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน ทั้งปัจจัยทางร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน สารสื่อประสาทในสมอง และฮอร์โมนที่ผิดปกติอย่างมาก รวมไปถึงปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
อาการก่อนมีประจำเดือนชนิดรุนแรงและไม่รุนแรง
- รู้สึกซึมเศร้า หรืออาจจะความคิดทำร้ายตัวเอง
- มีความวิตกกังวลและเครียดมาก
- อารมณ์เปลี่ยนแปลงบ่อย หรืออาจร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล
- อารมณ์ไม่มั่นคง โกรธง่าย
- ไม่มีความสนใจในชีวิตประจำวัน และไม่สนใจคนอื่น
- ไม่มีสมาธิในการทำงาน
- รู้สึกอ่อนเพลียขาดพลังงานในการทำงาน
- รู้สึกอยากอาหารบ่อยและอยากอาหารมากผิดปกติ
- ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้
- มีอาการในกลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือน PMS มากขึ้นกว่าปกติ
- นอนไม่หลับ
การดูแลสุขภาพเพื่อลดอาการปวดประจำเดือน
- การปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่นหลีกเลี่ยงของหวาน กาแฟ บุหรี่ สุรา หันมารับประทานผักสด ผลไม้ ธัญพืชแทน หลีกเลี่ยงอาหารเค็ม นมสด และเนื้อแดง แนะนำให้รับประทานอาหารมื้อละน้อยๆ อย่ารับประทานครั้งละมากๆ รวมถึงควรรับประทานอาหารให้เป็นเวลา เพื่อป้องกันอาการท้องอืด
- ควรออกกำลังกายวันละ 30 นาที ไม่จำเป็นต้องออกกำลังกายอย่างหนัก เพราะอาจจะทำให้ประจำเดือนมาผิดปกติได้
- รับประทานวิตามินเสริม กลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือนอาจเกิดจากการขาดวิตามินหลายชนิด เช่น วิตามินเอ, อี, บี1 และ บี6
- นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
- ลดความเครียดด้วยวิธีการต่างๆ หรืออาจจะใช้วิธีนั่งสมาธิ
อาการปวดประจำเดือนหรือปวดท้องเมนส์ธรรมดา ปวดในระยะที่มาวันแรกๆ คือ วันที่ 1 หรือ 2 แล้วหายไป เป็นเรื่องปกติ ใช้ยาพาราเซตามอลหรือพอนสแตนร่วมด้วยก็ถือว่าเป็นอาการปกติ แต่ถ้าหากมีการปวดท้องเมนส์ที่มากผิดปกติ คือวันที่4 ที่ 5 แล้วก็ยังปวด ปวดมากแบบต้องกินยาตลอด ต้องลางาน ไปทำงานไม่ได้ และอาการปวดประจำเดือนเป็นอาการเรื้อรังที่ปวดมากขึ้นทุกเดือนๆ มากกว่า 6 เดือน เป็นสัญญาณอันตราย ผู้ที่มีอาการเช่นนี้ควรพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุของการปวดนั้น |
http://www.bim100-th17.com